วัตถุทั้งหลายที่อยู่นิ่งในกรอบอ้างอิงเฉื่อย
เช่น โคมไฟ บันไดที่พิงกำแพงอยู่ คาน ขื่อ และส่วนต่างๆ ของอาคาร
ล้วนนับว่าวัตถุอยู่ใน สภาพสมดุลสถิต (static
equilibrium) ทั้งนี้หากประมาณว่าผู้สังเกตที่อยู่ที่ใดที่หนึ่งบนผิวโลกอยู่ในกรอบอ้างอิงเฉื่อย
(ความจริงไม่เป็นกรอบอ้างอิงเฉื่อย
เนื่องจากโลกหมุนรอบตัวเองและเคลื่อนที่ไปรอบดวงอาทิตย์) และวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว หรือหมุนด้วยความเร็วเชิงมุมคงตัว
อาจกล่าวได้ว่า วัตถุเหล่านี้อยู่ใน สภาพสมดุล หรือ สมดุล
(equilibrium)
วันพุธที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2558
วันพฤหัสบดีที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2558
บทที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนที่ของวัตถุต่างๆ รอบตัวเรา อาจจะเป็นการเคลื่อนที่แนวตรง
หรืออาจเป็นแนวโค้ง เช่น ลูกบาสเกต- บอลที่ กำลังลอยเข้าห่วง
สายน้ำที่พุ่งออกจากหัวฉีด ลูกบอลที่ถูกเตะลอยไปในอากาศ
การเลี้ยวของรถเมื่อเข้าทางโค้ง การหมุนของ ใบพัดลม
เป็นต้น ในบทนี้เราจะได้ศึกษาการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ได้แก่ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
การเคลื่อนที่แบบ วงกลม และการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายอ่านต่อ
บทที่ 3 แรงและกฏการเคลื่อนที่
แรง (Force)
ตามความหมายที่ใช้กันทั่วไป แรงคือ สิ่งที่กระทำต่อวัตถุในรูปของการพยายามดึงหรือดันที่จะทำให้วัตถุนั้นเคลื่อนที่ และเมื่อมีแรงมากระทำต่อวัตถุ วัตถุจะเคลื่อนที่หรือไม่ก็ได้ ทั้งนี้อาจเพราะมีแรงอื่นกระทำต่อวัตถุด้วย เช่น ถ้าวัตถุวางบนพื้น แรงเสียดทานระหว่างพื้นกับวัตถุก็จะกระทำต่อวัตถุด้วย หากแรงที่กระทำต่อวัตถุไม่มากพอที่จะเอาชนะแรงเสียดทานวัตถุก็จะไม่เคลื่อนที่ หรือกรณีการออกแรงกระทำต่อวัตถุที่ยึดไว้อย่างแข็งแรง เช่น เสา หรือกำแพง เสาหรือกำแพงย่อมไม่เคลื่อนที่ เพราะแรงอ่านต่อ
ตามความหมายที่ใช้กันทั่วไป แรงคือ สิ่งที่กระทำต่อวัตถุในรูปของการพยายามดึงหรือดันที่จะทำให้วัตถุนั้นเคลื่อนที่ และเมื่อมีแรงมากระทำต่อวัตถุ วัตถุจะเคลื่อนที่หรือไม่ก็ได้ ทั้งนี้อาจเพราะมีแรงอื่นกระทำต่อวัตถุด้วย เช่น ถ้าวัตถุวางบนพื้น แรงเสียดทานระหว่างพื้นกับวัตถุก็จะกระทำต่อวัตถุด้วย หากแรงที่กระทำต่อวัตถุไม่มากพอที่จะเอาชนะแรงเสียดทานวัตถุก็จะไม่เคลื่อนที่ หรือกรณีการออกแรงกระทำต่อวัตถุที่ยึดไว้อย่างแข็งแรง เช่น เสา หรือกำแพง เสาหรือกำแพงย่อมไม่เคลื่อนที่ เพราะแรงอ่านต่อ
บทที่2 การเคลื่อนที่
บทที่1 บทนำ
ฟิสิกส์ เป็นวิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับ สสาร และ พลังงาน ศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และ
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสสารกับพลังงาน
รวมทั้งเป็นความรู้พื้นฐานที่นำไปใช้ในการพัฒนาเทคโนโลยีเกี่ยวกับการผลิต
และเครื่องใช้ต่าง ๆ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่มนุษย์ ตัวอย่างเช่น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)